เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบุว่า โครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรท้องถิ่นจังหวัดอำนาจเจริญ เกษตรกรจะได้ประโยชน์ที่เพิ่มรายได้ที่มากขึ้น – Chula Radio Plus สถานีวิทยุจุฬาฯ 101.5 MHz

วันที่เผยแพร่ 01 พ.ค. 2565 หัวข้อ อาจารย์ประจำสาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบุว่า โครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรท้องถิ่นจังหวัดอำนาจเจริญ เกษตรกรจะได้ประโยชน์ที่เพิ่มรายได้ที่มากขึ้น – Chula Radio Plus สถานีวิทยุจุฬาฯ 101.5 MHz สำนักข่าว curadio.chula.ac.th URL https://curadio.chula.ac.th/Breaking-News-Detail.php?id=122474  

อาจารย์ประจำสาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบุว่า โครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรท้องถิ่นจังหวัดอำนาจเจริญ เกษตรกรจะได้ประโยชน์ที่เพิ่มรายได้ที่มากขึ้น – Chula Radio Plus สถานีวิทยุจุฬาฯ 101.5 MHz Read More »

คอลัมน์: การศึกษาสู่เศรษฐกิจ: ‘เพาะเนื้อเยื่อสมุนไพร’ สร้างรายได้เกษตรกร

คอลัมน์: การศึกษาสู่เศรษฐกิจ: ‘เพาะเนื้อเยื่อสมุนไพร’ สร้างรายได้เกษตรกร Read More »

คอลัมน์: การศึกษาสู่เศรษฐกิจ: ‘เพาะเนื้อเยื่อสมุนไพร’ สร้างรายได้เกษตรกร (กรอบบ่าย))

คอลัมน์: การศึกษาสู่เศรษฐกิจ: ‘เพาะเนื้อเยื่อสมุนไพร’ สร้างรายได้เกษตรกร (กรอบบ่าย)) Read More »

หัวข้อ นักวิจัย ม.ขอนแก่น พัฒนาโครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรท้องถิ่นในจังหวัดอำนาจเจริญ เสริมรายได้เกษตรกร-การท่องเที่ยว มุ่งสร้างความยั่งยืน

วันที่เผยแพร่ 23 เม.ย. 2565 หัวข้อ นักวิจัย ม.ขอนแก่น พัฒนาโครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรท้องถิ่นในจังหวัดอำนาจเจริญ เสริมรายได้เกษตรกร-การท่องเที่ยว มุ่งสร้างความยั่งยืน สำนักข่าว  facebook: เปลวสีเงิน URL https://www.facebook.com/plewofficial/posts/523457909219372

หัวข้อ นักวิจัย ม.ขอนแก่น พัฒนาโครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรท้องถิ่นในจังหวัดอำนาจเจริญ เสริมรายได้เกษตรกร-การท่องเที่ยว มุ่งสร้างความยั่งยืน Read More »

ศูนย์แม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ. – มข. จัดฝึกอบรม “เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช” ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom Meeting

เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2564 ศูนย์แม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ. – มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดฝึกอบรมเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom Meeting ถ่ายทอดการอบรมจากศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมี ผศ.ดร.จุฑาพร แสวงแก้ว รักษาการแทนรองผู้อำนวยการศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้เกียรติกล่าวเปิดงานอบรม ดังนี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับพิจารณาจาก อพ.สธ. ให้จัดตั้งเป็นศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. – มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการดำเนินงานภายใต้กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร เพื่อเป็นหน่วยงานประสานงานสนองพระราชดำริหน่วยงานต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัย โรงเรียนสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสมาชิกงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น รวมทั้งการให้ความรู้ความเข้าใจ การจัดฝึกอบรมบุคลากรหน่วยงานในพื้นที่เป้าหมาย ตามหลักสูตร อพ.สธ. และหลักสูตรสนับสนุนงานสนองพระราชดำริ เพื่อช่วยขับเคลื่อนการดำเนินงานสนองพระราชดำริ อพ.สธ. ในภูมิภาค กล้วยไม้ป่า เป็นหนึ่งในทรัพยากรที่สำคัญที่นักวิจัยในมหาวิทยาลัยขอนแก่นสำรวจพบในพื้นที่ปกปักทรัพยากรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพบว่ามีความหลากหลายค่อนข้างมาก กล้วยไม้ป่าที่ส่วนใหญ่ที่พบในท้องถิ่นเป็นชนิดทั่วไปของป่าเต็งรัง แต่มีบางชนิดที่ปัจจุบันพบน้อยลงในสภาพธรรมชาติ เช่น รองเท้านารีเหลืองปราจีน และช้างกระ ดังนั้น จึงควรมีการเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์เพื่อรักษาสายพันธุ์ ส่งเสริมการเพิ่มจำนวนและรักษาชนิดเดิมในพื้นที่ รวมทั้งให้ความรู้ความเข้าใจกับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เห็นถึงประโยชน์และความสำคัญของทรัพยากรในพื้นที่นำมาสู่การหวงแหนและอยากการอนุรักษ์ต่อไป โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเป็นวิทยาการสำหรับการอนุรักษ์และการเก็บรักษาพันธุกรรมพืช ที่มีการพัฒนาเทคนิคในการขยายพันธุ์แบบใหม่ เพื่อให้ได้ต้นพืชปริมาณมาก

ศูนย์แม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ. – มข. จัดฝึกอบรม “เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช” ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom Meeting Read More »

Scroll to Top